บทความ

25.01.2561 เจดีย์กิ่ว หรือ เจดีย์ขาว (หรือ เจดีย์ลุงเปียง) ต.ช้างม่อย อ.เมือง จ.เชียงใหม่

รูปภาพ
25.01.2561 ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก fb :  เชียงใหม่ที่คุณไม่เคยเห็น 22 ธันวาคม 2017  ·  1.1  เจดีย์กิ่ว หรือ เจดีย์ขาว  ต.ช้างม่อย อ.เมือง จ.เชียงใหม่.  หลังจากที่พระเจ้าอินทวิชยานนท์พิราลัยแล้ว จึงใช้คุ้มแห่งนี้เป็นจวนข้าหลวง สิทธิ์ขาดประจำมณฑลพายัพแล้ว จึงเปลี่ยนมาเป็นจวน สมุหเทศาภิบาล คุ้มแห่งนี้จึงถูกทอดทิ้งจนชำรุดทรุดโทรม ต่อมาจึงได้รื้อทิ้งแล้วสร้างเป็น สำนักงาน เทศบาลนครเชียงใหม่  จนถึงปัจจุบันนี้ส่วนบริเวณด้านซ้ายมือของเจดีย์กิ่วนั้น เจ้าแก้วนวรัฐเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ โปรดให้สร้างเป็น ตำหนักของ พระราชชายาเจ้าดารารัศมี เมื่อครั้งที่ พระองค์เสด็จกลับมาประทับเป็นการถาวร ที่เชียงใหม่ เรียกว่าคุ้มเจดีย์งาม หรือคุ้มเจดีย์กิ่ว ปัจจุบันคุ้มนี้คือ บริเวณสถานกงสุลใหญ่ อเมริกัน ประจำจังหวัด เชียงใหม่. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 26.01.2561 เจดีย์กิ่วกับเจดีย์  ขาวกลางถนน "เป๋นคนละแก่น" ขอบคุณ ข้อมูลจาก  Wutthinan Promrat  

25.01.2561 การแต่งกายในอดีต ของผู้หญิงเชียงใหม่.

รูปภาพ
25.01.2561 ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก fb :  เชียงใหม่ที่คุณไม่เคยเห็น ' 01.1   การแต่งกายในอดีต ของผู้หญิงเชียงใหม่ การแต่งกายในอดีต ของผู้หญิงเชียงใหม่ นิยมเกล้ามวยสูงกลางศีรษะ แล้วปักปิ่น หรือเ สียบดอกไม้ประดับ การเปลือยอก ของหญิงเป็นเรื่องธรรมดาในอ ดีต อาจจะมีเพียงผ้าสีอ่อน ซึ่งมีวิธีใช้หลายอย่าง เช่น การพันผ้าไว้ใต้ทรวงอกหรือป ิดอก ใช้คล้องคอ ปล่อยชายผ้าไว้ด้านหน้า หรือ คล้องทิ้งชายไปด้านหลัง ใช้ห่มเฉียงแบบสไบ เรียกว่า สะหว้ายแหล้ง หรือ เบี่ยงบ้าย นุ่งผ้าซิ่นลายขวางยาวกรอมเ ท้า เรียกว่า ซิ่นต่อตีนต่อแอว องค์ประกอบของซิ่นมี ๓ ส่วน คือ หัวซิ่น ตัวซิ่น ตีนซิ่น ผ้าซิ่นแบบที่ใช้งานปกติเป็ นตัวซิ่น ที่ทอลายขวาง เย็บตะเข็บเดี่ยว สีของผ้าซิ่น จะย้อมด้วยสีจากพืชเป็นสีต่ าง ๆ เช่น แดง ม่วง เป็นต้น และ มีผ้าตีนสิ้น คือเชิงผ้าซิ่นสีอื่น เช่น สีดำกว้างประมาณหนึ่งคืบ มาต่อเข้ากับส่วนชาย ส่วนผ้าที่นำมาต่อกับส่วนเอ ว แม้จะกว้างประมาณหนึ่งคืบ แต่ก็มักใช้สีขาว ต่อมาเมื่อมีการพัฒนากี่กระ ตุก ให้สามารถทอผ้าหน้ากว้างขึ้ น ในสมัยเจ้าแก้วนวรัฐ คนจึงหันไปนิยมนุ่ง สิ้นต

25.01.2561 (ภาพในอดีต) วัดพระสิงห์ วรวิหาร ถ.ราชดำเนิน อ.เมือง จ.เชียงใหม่

รูปภาพ
25.01.2561 ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก fb:  เชียงใหม่ที่คุณไม่เคยเห็น วัดพระสิงห์ วรวิหาร ถ.ราชดำเนิน อ.เมือง จ.เชียงใหม่ (ภาพในอดีต) 1.1  เชียงใหม่ที่คุณไม่เคยเห็น   ถนนราชดำเนิน  อันแสนสงบในอดีต ตรงไปเห็นวัดพระสิงห์ วรวิหาร จ.เชียงใหม่  ปัจจุบันทุกวันอาทิตย์ปิดเป็น ถนนคนเดิน อันมีชื่อเสียงไปทั่วโลก ขอบคุณภาพจากDisapong Netlomvong 1.2  เชียงใหม่ที่คุณไม่เคยเห็น   สิ่งปลูกสร้างที่เห็นเด่นเป็นสง่าคือพระวิหารหลวง สถาปัตยกรรมแบบล้านนา กว้าง 24 เมตร ยาว 56 เมตร สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2467 เป็นที่ประดิษฐาน พระศรีสรรเพชญ (หลวงพ่อโต) สร้าง วิหารหลังเดิมเป็นอาคารจัตุรมุข แต่ชำรุดทรุดโทรมมาก ครูบาศรีวิชัยจึงให้รื้อแล้วสร้างขึ้นใหม่ ภาพถ่ายนี้น่าจะเป็นภาพในช่วงที่วิหารสร้างเสร็จใหม่ๆ. 2.1  Lanna Nakornpink   ด้านซ้ายมือ คือ วัดศรีเกิด และ ด้านขวามือ คือ วัดทุงยู อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ครับ. Moonfleet Thailand. 25.01.2561

25.01.2561 ภาพถ่าย "ชีวิตชาวเชียงใหม่จ่ายกาด (ตลาด) ทิพเนตร" เมื่อร้อยกว่าปีก่อน .

รูปภาพ
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก fb:  เชียงใหม่ที่คุณไม่เคยเห็น · ภาพถ่ายชีวิตชาวเชียงใหม่จ่ ายตลาด เมื่อร้อยกว่าปีก่อน. ภาพถ่ายชีวิตชาวเชียงใหม่จ่ ายตลาด เมื่อร้อยปีก่อน ฟิล์มกระจกของหลวงอนุสารสุน ทร ที่ทรงคุณค่า เดิมกาดในเวียงเชียงใหม่ อยู่ริมถนนจากแยกกลางเวียงไ ปทางวัดพระสิงห์  ต่อมาในยุคพระยานริศราชกิจ (สาย โชติกเสถียร) เป็นข้าหลวงใหญ่ฯ ช่วง พ.ศ. ๒๔๔๒ - ๒๔๔๕ ให้ย้ายกาดจากถนนกลางเวียง ไปขายที่จัดให้ใหม่ชื่อว่า "กาดทิพเนตร" อยู่ถัดจากวัดพระสิงห์ไปทาง ทิศใต้ ภาพนี้จึงน่าจะเป็นกาดทิพเน ตร  เพราะหลังจากพระราชทานเพลิง ศพ พระเจ้าอินทวิชยานนท์เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๔ แล้ว เจ้าแก้วนวรัฐฯ ได้จัดข่วงเมรุ ที่พระราชทานเพลิงศพเป็นกาด ต่อมาเจ้าอินทวโรรสฯ ได้ขอเข้าหุ้น เจ้าแก้วนวรัฐฯ เลยขายตลาดที่ข่วงเมรุ ให้เจ้าอินทวโรรสฯ กาดที่ข่วงเมรุจึงได้ชื่อว่ า "กาดวโรรส"  มาจนบัดนั้น  ส่วนกาดในภาพเป็นกาดในเวียง และในช่วงเวลาที่ย้ายกาดจาก ถนนกลางเวียง ไปอยู่ที่หน้าวัดพระสิงห์นั ้น เป็นช่วงเวลาที่พระยาเจริญร าชไมตรี ขึ้นมาเป็นอธิบดีศาลต่างประ เทศที่เชี

25.01.2561 (เข้าใจว่า) ตลาดลีเชียง บริเวณหน้าวัดพระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

รูปภาพ
ขอบคุณ ภาพและเนื้อเรื่อง จาก fb:  เชียงใหม่ที่คุณไม่เคยเห็น ภาพแม่ค้าหาบกระจาด ออกมานั่งขายสินค้า อาหารการกิน ของคนพื้นเมืองเชียงใหม่ ริมถนนข้างกำแพงวัดแห่งหนึ่ ง สมัยแรกเริ่ม มีตำรวจ ประจำเมือง เดินใส่หมวก ไม่ใส่ รองเท้า มาเดินชมตลาด นั่งคุยกับแม่ค้าด้วย สาวด้านขวามือ ที่มีขันโตก วางด้านหน้า อยู่ในยุคที่ สาวล้านนา เริ่มสวมเสื้อแล้วราวปี ยุค พ.ศ.2460 หรือราว ค.ศ.1920 สมัย100ปีก่อนมี จุดตั้งขายหน้าวัดพระสิงห์ เรียก กาดลีเชียง ผู้เขียน : วรชาติ มีชูบท พลตระเวณไม่สวมรองเท้า ไม่ใช่เพราะราคาแพงอย่างเดี ยว แต่เพราะไม่เคยชินด้วยครับ หลายรายที่หลวงจ่ายรองเท้าใ ห้สวม แต่ไม่สวมกลับเดินถือรองเท้ าไปมา หนักหน่อยก็เอารองเท้าคล้อง คอกันเลย กาดที่เชียงใหม่ มีบันทึกว่าในช่วงก่อนที่จะ มี การจัดระเบียบกาดกันนั้น มีหลักฐานว่า ชาวบ้านนำสินค้ามาค้าขายกัน ริมถนน ตั้งแต่แยกกลางเวียง ไปจนถึง หน้าวัดพระสิงห์ ต่อมาข้าหลวงใหญ่ฯ ให้ย้ายไปขายรวมกัน ที่ กาดทิพเนตร หลัง วัดพระสิงห์ และ เพราะกาดทิพเนตรนี้เองทำราย ได้ ให้แก่เจ้านายเมืองเชียงใหม ่เป็นกอบเป็นกำ ภายหลังพระราชทาน

17.01.2561 พระนามกษัตริย์อาณาจักรล้านนาไท ตั้งแต่สมัยพญามังราย จนถึง ยุคของเจ้าแก้วนวรัฐ.

รูปภาพ
17.01.2561 กษัตริย์ล้านนา ล้านนาตอนต้น พญามังราย พ.ศ 1839-1854 พญาไชยสงคราม พ.ศ 1854-1868 พญาแสนพู พ.ศ 1868-1877 พญาคำฟู พ.ศ 1877-1879 พญาผายู พ.ศ 1879-1898 ล้านนายุคทอง พญากือนา พ.ศ 1898-1928 พญาแสนเมืองมา พ.ศ 1928-1944 พญาสามฝั่งแกน พ.ศ 1945-1984 พระเจ้าติโลกราช พ.ศ 1984-2030 พญายอดเชียงราย พ.ศ 2030-2038 พญาแก้ว พ.ศ 2038-2068 ล้านนายุคเสื่อม พญาเมืองเกษเกล้า พ.ศ.2068-2081(ครั้งที่ 1) ท้าวซายคำ พ.ศ.2081-2086 พญาเมืองเกษเกล้า พ.ศ.2086-2088(ครั้งที่ 2) พระนางจิรประภา พ.ศ.2088-2089 พระไชยเชษฐา พ.ศ.2089-2091 ไม่มีผู้ปกครอง พ.ศ.2091-2094 ท้าวแม่กุ (พระเมกุฎิ) พ.ศ.2094-2101 ล้านนาภายใต้อำนาจพม่า ท้าวแม่กุ (พระเมกุฎิ) พ.ศ.2101-2107 (ภายใต้อำนาจพม่า) พระนางวิสุทธเทวี พ.ศ.2107-2121 (ภายใต้อำนาจพม่า) สาวถีนรตรามังซอศรีมังสรธาช่อ พ.ศ.2121-2150 พระช้อย (ครั้งที่ 1) พ.ศ.2150-2151 พระชัยทิพ (มองกอยต่อ) พ.ศ.2151-2156 พระช้อย (ครั้งที่ 2) พ.ศ.2156-2158 เจ้าเมืองน่าน พ.ศ.2158-2174 พญาหลวงทิพเนตร พ.ศ.2174-2198 พระแสนเมือง พ.ศ.2198-2202 เจ้าเมืองแพร่