25.01.2561 การแต่งกายในอดีต ของผู้หญิงเชียงใหม่.
25.01.2561
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก fb : เชียงใหม่ที่คุณไม่เคยเห็น'
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก fb : เชียงใหม่ที่คุณไม่เคยเห็น'
การแต่งกายในอดีต ของผู้หญิงเชียงใหม่
นิยมเกล้ามวยสูงกลางศีรษะ
แล้วปักปิ่น หรือเ สียบดอกไม้ประดับ
การเปลือยอก ของหญิงเป็นเรื่องธรรมดาในอ ดีต
อาจจะมีเพียงผ้าสีอ่อน ซึ่งมีวิธีใช้หลายอย่าง
เช่น การพันผ้าไว้ใต้ทรวงอกหรือป ิดอก
ใช้คล้องคอ ปล่อยชายผ้าไว้ด้านหน้า
หรือ คล้องทิ้งชายไปด้านหลัง
ใช้ห่มเฉียงแบบสไบ
เรียกว่า สะหว้ายแหล้ง หรือ เบี่ยงบ้าย
นุ่งผ้าซิ่นลายขวางยาวกรอมเ ท้า
เรียกว่า ซิ่นต่อตีนต่อแอว
องค์ประกอบของซิ่นมี ๓ ส่วน คือ
หัวซิ่น ตัวซิ่น ตีนซิ่น
ผ้าซิ่นแบบที่ใช้งานปกติเป็ นตัวซิ่น
ที่ทอลายขวาง เย็บตะเข็บเดี่ยว
สีของผ้าซิ่น จะย้อมด้วยสีจากพืชเป็นสีต่ าง ๆ
เช่น แดง ม่วง เป็นต้น
และ มีผ้าตีนสิ้น คือเชิงผ้าซิ่นสีอื่น
เช่น สีดำกว้างประมาณหนึ่งคืบ
มาต่อเข้ากับส่วนชาย
ส่วนผ้าที่นำมาต่อกับส่วนเอ ว
แม้จะกว้างประมาณหนึ่งคืบ แต่ก็มักใช้สีขาว
ต่อมาเมื่อมีการพัฒนากี่กระ ตุก
ให้สามารถทอผ้าหน้ากว้างขึ้ น
ในสมัยเจ้าแก้วนวรัฐ
คนจึงหันไปนิยมนุ่ง สิ้นตีนลวด
คือผ้าซิ่นที่ทอได้ ตั้งแต่เชิง ถึงเอวรวดเดียว
โดยไม่มีการเย็บต่อเช่นที่ผ ่านมา
และระยะนี้ยังเริ่มนิยมนุ่ง ซิ่นมีเชิงเป็น
ลวดลายสลับสี ซึ่งเป็นรูปแบบที่นิยมมา
ถึงปัจจุบันอีกด้วย
ทั้งนี้ในระดับผู้มีอันจะกิ นนั้น
มักจะแต่งกายเลียนแบบเจ้านา ย
ทั้งในแง่ รูปแบบเสื้อผ้า และ ทรงผม
ซึ่งเมื่อ สามัญชน เห็นว่าสวยงาม
ก็มักจะรับแบบอย่าง ไปแต่งบ้าง
แต่เดิมนั้น หญิงสามัญชนชาวเชียงใหม่
และ ตามชนบทอื่นๆ ไม่สวมเสื้อ
แต่จะใช้ผ้าผืนยาว
คล้ายผ้าแถบ พันรอบอก หรือ คล้องคอ
ปล่อยชายปิดส่วนอก
หรือพาดไหล่ปล่อยชายทั้งสอง ข้างไปด้านหลัง
แต่ผ้าด้านหน้าจะปิดคลุมทรว งอกหรือไม่ก็ได้
หรือจะห่มเฉียงที่เรียกว่าส ะหว้ายแหล้งก็ได้
แล้วแต่ความสะดวกของผู้แต่ง
ถ้าหากอาศหนาวก็จะใช้ ผ้าทุ้ม
อ่านว่า ผ้าตุ๊ม (ผ้าคลุมไหล่)
สำหรับเสื้อ เข้าใจว่าการสวมเสื้อ
คงจะเป็นความนิยมในระยะหลัง
(ราวปลายรัชกาลที่ ๕)
ข้อมูลจาก หอประวัติศาสตร์เมืองเชียงใ หม่
02.1 การแต่งกายในอดีต ของผู้หญิงเชียงใหม่
02.2 การแต่งกายในอดีต ของผู้หญิงเชียงใหม่
นิยมเกล้ามวยสูงกลางศีรษะ
แล้วปักปิ่น หรือเ สียบดอกไม้ประดับ
การเปลือยอก ของหญิงเป็นเรื่องธรรมดาในอ
อาจจะมีเพียงผ้าสีอ่อน ซึ่งมีวิธีใช้หลายอย่าง
เช่น การพันผ้าไว้ใต้ทรวงอกหรือป
ใช้คล้องคอ ปล่อยชายผ้าไว้ด้านหน้า
หรือ คล้องทิ้งชายไปด้านหลัง
ใช้ห่มเฉียงแบบสไบ
เรียกว่า สะหว้ายแหล้ง หรือ เบี่ยงบ้าย
นุ่งผ้าซิ่นลายขวางยาวกรอมเ
เรียกว่า ซิ่นต่อตีนต่อแอว
องค์ประกอบของซิ่นมี ๓ ส่วน คือ
หัวซิ่น ตัวซิ่น ตีนซิ่น
ผ้าซิ่นแบบที่ใช้งานปกติเป็
ที่ทอลายขวาง เย็บตะเข็บเดี่ยว
สีของผ้าซิ่น จะย้อมด้วยสีจากพืชเป็นสีต่
เช่น แดง ม่วง เป็นต้น
และ มีผ้าตีนสิ้น คือเชิงผ้าซิ่นสีอื่น
เช่น สีดำกว้างประมาณหนึ่งคืบ
มาต่อเข้ากับส่วนชาย
ส่วนผ้าที่นำมาต่อกับส่วนเอ
แม้จะกว้างประมาณหนึ่งคืบ แต่ก็มักใช้สีขาว
ต่อมาเมื่อมีการพัฒนากี่กระ
ให้สามารถทอผ้าหน้ากว้างขึ้
ในสมัยเจ้าแก้วนวรัฐ
คนจึงหันไปนิยมนุ่ง สิ้นตีนลวด
คือผ้าซิ่นที่ทอได้ ตั้งแต่เชิง ถึงเอวรวดเดียว
โดยไม่มีการเย็บต่อเช่นที่ผ
และระยะนี้ยังเริ่มนิยมนุ่ง
ลวดลายสลับสี ซึ่งเป็นรูปแบบที่นิยมมา
ถึงปัจจุบันอีกด้วย
ทั้งนี้ในระดับผู้มีอันจะกิ
มักจะแต่งกายเลียนแบบเจ้านา
ทั้งในแง่ รูปแบบเสื้อผ้า และ ทรงผม
ซึ่งเมื่อ สามัญชน เห็นว่าสวยงาม
ก็มักจะรับแบบอย่าง ไปแต่งบ้าง
แต่เดิมนั้น หญิงสามัญชนชาวเชียงใหม่
และ ตามชนบทอื่นๆ ไม่สวมเสื้อ
แต่จะใช้ผ้าผืนยาว
คล้ายผ้าแถบ พันรอบอก หรือ คล้องคอ
ปล่อยชายปิดส่วนอก
หรือพาดไหล่ปล่อยชายทั้งสอง
แต่ผ้าด้านหน้าจะปิดคลุมทรว
หรือจะห่มเฉียงที่เรียกว่าส
แล้วแต่ความสะดวกของผู้แต่ง
ถ้าหากอาศหนาวก็จะใช้ ผ้าทุ้ม
อ่านว่า ผ้าตุ๊ม (ผ้าคลุมไหล่)
สำหรับเสื้อ เข้าใจว่าการสวมเสื้อ
คงจะเป็นความนิยมในระยะหลัง
(ราวปลายรัชกาลที่ ๕)
ข้อมูลจาก หอประวัติศาสตร์เมืองเชียงใ
02.1 การแต่งกายในอดีต ของผู้หญิงเชียงใหม่
02.2 การแต่งกายในอดีต ของผู้หญิงเชียงใหม่
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
Moonfleet Thailand.
25.01.2561
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น